Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Allium</em> <em>tuberosum</em> Rottler ex Spreng.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Allium</em> <em>yezoense</em> Nakai </p><p><em>Allium</em> <em>tuberosum</em> f. <em>yezoense</em> (Nakai) M.Hiroe</p><p><em>Allium</em> <em>argyi</em> H.Lév.</p><p><em>Allium</em> <em>clarkei</em> Hook.f.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น </strong>ไม้หัวล้มลุก มีหัวแบบ (Bulbs) เปลือกหุ้ม (tunic) สีเหลืองแกมสีน้ำตาล</p><p><strong>ใบ </strong>รูปแถบ สั้นกว่าก้านช่อดอก กว้าง 1.5-8.0 มม. ขอบใบเรียบ</p><p><strong>ดอก </strong>ก้านช่อดอกยาวประมาณ 25-60 ซม. คล้ายทรงกระบอก โคนก้านช่อดอกถูกหุ้มด้วยใบ กาบหุ้มช่อดอกแยกเป็น 2-3 แฉก ช่อดอกแบบซี่ร่ม ครึ่งทรงกลมถึงทรงกลม โปรง มีหลายดอก ก้านดอกย่อยยาวเท่ากัน วงกลีบรวมสีขาว กลีบชั้นนอก รูปขอบขนานแกมรูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กลีบชั้นใน รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ก้านชูเกสรเพศผู้รูปสามเหลี่ยมแคบ รังไข่รูปกรวยกลับแกมรูปทรงกลม</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>อยู่ที่ระดับความสูง 1,000-1,100 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ถิ่นกำเนิดในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลชานซีของจีน</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เขตร้อนของเอเชีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ใบ</strong> รสร้อนฉุน แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ฟกบวม แก้แน่นหน้าอก แก้ไอ ฆ่าเชื้อโรคในแผลสด แก้แผลหนองเรื้อรัง แก้หูน้ำหนวก </p><p><strong>ดอกตูม ใบ และทั้งต้น</strong> รสร้อนฉุน นิยมนำมาใช้เป็นผักเคียงกับผัดไท หรือผัดน้ำมันรับประทานเป็นยาช่วยสร้างเมล็ดเลือดแดง กากใยช่วยในระบบขับถ่าย</p><p><strong>เมล็ด</strong> ใช้เป็นสมุนไพรประกอบยารักษาโรคกระเพาะอาหารและแก้ท้องเสีย</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “กุยช่าย.”<strong> </strong>[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=กุยช่าย&keyback=กุยช่าย (17 พฤศจิกายน 2559)</p><p>ประโยชน์ดอทคอม. 2559. “กุยช่าย.”<strong> </strong>[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://prayod.com/กุยช่าย/ (17 พฤศจิกายน 2559)</p><p>Flora of China. “Allium tuberosum Rottler ex Sprengel.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200027544 (17 พฤศจิกายน 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Allium</em> <em>tuberosum</em> Rottler ex Spreng.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-296861 (17 พฤศจิกายน 2559)</p><p>wikipedia. “<em>Allium tuberosum</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Allium_tuberosum (17 พฤศจิกายน 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้