รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03929


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa sp.

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยแคระ/ กล้วยพระราม
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
Kluai Kre
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น กล้วยแคระ มีลักษณะเหมือนกล้วยทั่วไปทุกประการ เพียงแต่จะเล็กกว่า สูงประมาณ 1.2 ม.

ใบ ใบมีสีเขียว ลักษณะคล้ายใบกล้วยทั่วไป แต่มีขนาดเล็กกว่า ปลายใบค่อนข้างโค้งกลมเล็กน้อย ขอบใบเรียบ เห็นก้านใบชัดเจน

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

ต้องการแดดจัด กลางแจ้ง หากปลูกภายในอาคารต้องอยู่ในตำแหน่งที่ได้รับแสงแดดตลอดวัน และต้องรดน้ำทุกวัน เพราะกล้วยแคระต้องการน้ำมาก

ถิ่นกำเนิด

แถบเอเชียตอนใต้

การกระจายพันธุ์

ทวีปเอเชีย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,สมุนไพร,พืชประดับ,พืชวัสดุ

ลำต้นใช้ทำเชือก ใบตองใช้ห่ออาหาร

ในประเทศเมืองหนาวอากาศแห้งจะนิยมปลูกกล้วยแคระเป็นไม้ประดับภายในอาคาร เนื่องจากมีใบใหญ่จึงคายน้ำได้ดี นอกจากนี้ยังพบว่ากล้วยแคระสามารถขจัดไอระเหยสารเคมีประเภทฟอร์มาลดีไฮด์ได้ดี

 

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

Panmai.com.  2558. “กล้วยแคระ” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.panmai.com/Pollution/Pollution_28.shtml (26 เมษายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้