Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Nephelium lappaceum</em> L. 'Rongrian'</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Dimocarpus</em> <em>crinitus</em> Lour.</p><p><em>Euphoria</em> <em>crinita</em> Poir.</p><p><em>Euphoria</em> <em>nephelium</em> Poir.</p><p><em>Euphoria</em> <em>nephelium</em> DC.</p><p><em>Euphoria</em> <em>ramb-outan</em> Labill.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 15-25 ม. ลำต้นจะแตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกสีเทาอมน้ำตาลเข้ม กิ่งเล็กกลมสีน้ำตาลอมแดงคล้ำ มีรอยเหี่ยวละเอียด ทรงพุ่มเป็นรูปครึ่งวงกลมแผ่ออกกว้าง</p><p><strong>ใบ</strong> เป็นใบรวม มีใบย่อย 2-4 คู่ ก้านใบระหว่างใบย่อยมีขนาดใหญ่ กลม สีน้ำตาลอมแดง ฐานก้านใบหนา รูปร่างใบเป็นรูปโล่ยาวหรือรูปไข่หัวกลับ ขอบใบเรียบสีเขียวอมเหลืองหรือสีนวล เส้นกลางใบขนาดใหญ่ ใต้ใบจะมีคลื่นเล็กน้อย</p><p><strong>ดอก</strong> มี 2 ลักษณะ คือ ช่อดอกตัวผู้ เป็นดอกเงาะที่มีดอกตัวผู้ทั้งช่อดอก และอีกลักษณะ คือ ดอกสมบูรณ์เพศ หรือที่เรียกว่า ดอกกระเทย เป็นดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน / ผล : รวมกันอยู่เป็นช่อ ติดอยู่บนก้านช่อดอก ผลค่อนข้างกลม สีแดง บางพันธุ์สีแดงปนเหลือง ขนาดของผลยาวประมาณ 3.5-8.0 ซม. กว้างประมาณ 2-5 ซม. ขนสั้นยาวขึ้นกับชนิดพันธุ์ แต่โดยทั่วไปยาวเฉลี่ย 0.5-1.8 ซม. เนื้อในใส อ่อนนุ่ม หรือเป็นสีขาวอมเหลือง ห่อหุ้มเมล็ดอยู่</p><p><strong>ผล </strong>เปลือกหนา และมีขนยาว ผลขณะดิบจะมีเปลือกสีเหลืองอมชมพู และขนมีสีเขียวอ่อน แต่เมื่อผลสุก เปลือกจะมีสีแดงเข้ม ส่วนขนส่วนโคนจะมีสีแดงเช่นกัน แต่ส่วนปลายขนจะมีสีเขียวอ่อน ส่วนเนื้อมีสีขาวนวล และเนื้อหนา แยกออกจากเมล็ดได้ง่าย ให้รสหวานจัด </p><p><strong>เมล็ด</strong> ส่วนเมล็ดมีลักษณะรี</p><p><strong>ราก</strong> มีระบบรากแก้ว รากแขนง และรากฝอย</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง ในประเทศไทยนิยมปลูกกันมากในภาคใต้</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เงาะมีถิ่นกำเนิดในอินโดนีเซีย และมาเลเซีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออก จีน ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด, การตอน, การทาบกิ่ง, การติดตา</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>อาหาร,สมุนไพร</p><p>-ผลแก่ นำมารับประทานสด มีรสหวาน อร่อย</p><p>-สามารถนำมาใช้เป็นยาสมุนไพรได้</p><p>-เนื้อไม้ สามารถนำไปเผาไฟเพื่อทำเป็นถ่านได้</p><p>-สามารถปลูกเป็นพืชเพื่อให้ร่มเงาได้</p><p>-เป็นพืชเศรษฐกิจของทางจันทบุรี</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ศูนย์วิจัยพืชยืนต้นและไม้ผลเมืองร้อน คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. “เงาะ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://natres.psu.ac.th/researchcenter/tropicalfruit/fruit/rambutan.htm (14 มิถุนายน 2560)</p><p>ภูมิปัญญาท้องถิ่นสุราษฎร์ธานี. “เงาะโรงเรียน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://suratthani.freevar.com/Negrito.html (14 มิถุนายน 2560)</p><p>วิกิพีเดีย. “เงาะ” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%B0 (14 มิถุนายน 2560)</p><p>Puechkaset.com. “เงาะโรงเรียน” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://puechkaset.com/%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%B0/ (14 มิถุนายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Nephelium</em> <em>lappaceum</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2382804 (14 มิถุนายน 2560)</p><p>Useful Tropical Plants Database. 2014. “<em>Nephelium</em> <em>lappaceum</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=nephelium+lappaceum (14 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้