Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Nymphaea</em> sp.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> บัวผันเป็นไม้น้ำและไม้ล้มลุกหลายฤดู</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเป็นวงสลับถี่ ใบรูปรีหรือค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 20-30 ซม. โคนใบเว้าลึก ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็นคลื่น ใบลอยปริ่มน้ำ</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกเป็นดอกเดี่ยวมีสีชมพู ดอกชูเหนือน้ำเล็กน้อย ก้านดอกมีสีม่วงแดง เมื่อดอกบานมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 15-20 ซม. ดอกบานกลางวัน และมีกลิ่นหอมและขนาดใหญ่กว่าบัวเผื่อน เมื่อบานหลาย ๆ วันสีจะจางลง</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>บัวผันเป็นบัวพื้นเมืองที่มีความทนทานปลูกเลี้ยงง่าย สามารถทนแดดทนฝนได้ดี และเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่แสงแดดส่องถึง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ถิ่นกำเนิด ทวีปแอฟริกา</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยไหล ซึ่งแตกจากเหง้าใต้ดินปลูกลงในบ่อในโคลนเลนโดยตรงหรือปลูกใน กระถางทรงแบนให้ตั้งตัวก่อนแล้วนำไป วางในโคลนเลนให้แตกไหลออกมาและเจริญต่อไป</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>นิยมปลูกในกระถาง หรือบ่อเล็กๆ ประดับสวน หรือสถานที่ทั่วไป</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. “บัวผัน.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10-46/Nymphaea%20cyanea%20.htm (17 มิถุนายน 2560)</p><p>NanaGarden.com. 2015. “บัวผันสีชมพู.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.nanagarden.com/product/242457(17 มิถุนายน 2560)</p><p>WordPress.com site. “พันธุ์บัวผัน.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://save2538.wordpress.com/%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%99/ (17 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้