Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Nypa</em> <em>fruticans</em> Wurmb</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Cocos</em> <em>nypa</em> Lour.</p><p><em>Nipa</em> <em>arborescens</em> Wurmb ex H.Wendl.</p><p><em>Nipa</em> <em>fruticans</em> (Wurmb) Thunb.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong> ปาล์มแตกกอ มีขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงได้ถึง 10 ม. มีเส้นผ่าศูนย์กลางที่โคนต้น 30-60 ซม. มักอยู่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่ มีส่วนของกาบ และก้านใบเก่าที่ไม่หลุดร่วงง่ายหุ้มอยู่ ลำต้นทอดเลื้อยไปบนดิน หรือจมอยู่ใต้ดิน และแตกกิ่ง</p><p><strong>ใบ </strong>ใบประกอบแบบขนนก ตั้งตรง 10-15 ทาง กาบใบอ้วนแข็ง แยกเป็นแฉกลึก ก้านใบอ้วนยาว 30-100 ซม. สีดำ แผ่นใบยาว 5-9 ม. มีใบย่อยด้านละ 60-100 ใบ เรียงเป็นระเบียบ ใย่อยค่อนข้างแข็ง และเอนออกจากแกนกลาง ใบเล็กน้อย</p><p><strong>ดอก </strong>ช่อดอกตั้งขึ้น ออกระหว่างกาบใบ 3-5 ช่อ สูง 1-2 ม. ก้านช่อดอกอ้วน ยาว 80-170 ซม. ช่อดอกยาว 30-ๅจจ ซม. แตกกิ่งย่อยด้านข้าง 6-9 กิ่ง รียงไปถึงยอด และมีช่อดอกเป็นกระจุกแน่น </p><p><strong>ผล </strong>ผลรูปไข่กลับ เป็นเหลี่ยม เนื่องจากผลเบียดกันแน่น ผลแข็ง สีน้ำตาล ผลจะอยู่รวมกันแน่นเป็นทรงกลม ขนาด 30-45 ซม.</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบตามบริเวณชายฝั่งทะเลทั้งสองด้านของไทย ต้นจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ บริเวณที่เป็นดินเลนตามปากแม่น้ำ รวมถึงป่าชายเลน ตามบึงน้ำกร่อย อ่าว และปากแม่น้ำ</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ศรีลังกา, อินเดียตะวันออก, พม่า, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, มาเลเซีย, นิวกินี, หมู่เกาะโซโลม่อน ไปจนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>-ใบ ใช้ใบมุงหลังคา มีอายุการใช้งานนาน 4-5 ปี หรือใช้ห่อของ มวนบุหรี่ และอื่น ๆ ใช้ไม้หีบช่อดอก ลักษณะเดียวกับทำน้ำตาลโตนด น้ำที่ได้นำมาเคี่ยว ใช้ทำน้ำตาลปึก มีกลิ่นหอมกว่าน้ำตาลที่ทำมาจากน้ำตาลโตนด </p><p>-ผล ผลกลางแก่ กลางอ่อนนำมาผ่าออก เอาเนื้อข้างในมารับประทานสดหรือเชื่อมน้ำตาลก็ได้</p><p>-สามารถปลูกเป็นพืชประดับได้</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ปิยะ เฉลิมกลิ่น. 2550. คู่มือ ปาล์มประดับ ฉบับปรับปรุงและเพิ่มเติม. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์บ้านและสวน;อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 304 น</p><p>พูนศักดิ์ วัชรากร. 2548. ปาล์มและปรงในป่าไทย. สำนักพิมพ์บ้านและสวน;อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 271 น.</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Nypa</em> <em>fruticans</em> Wurmb.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-136183 (18 มิถุนายน 2560)</p><p>wikipedia. “จาก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/จาก (18 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้