Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Oroxylum</em> <em>indicum</em> (L.) Kurz</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Arthrophyllum</em> <em>ceylanicum</em> Miq.</p><p><em>Bignonia</em> <em>indica</em> L.</p><p><em>Bignonia</em> <em>lugubris</em> Salisb.</p><p><em>Bignonia</em> <em>pentandra</em> Lour.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 5-12 เมตร ตามลำต้นมีรอยแผลใบชัดเจน ไม้เนื้ออ่อน แตกกิ่งก้านน้อย</p><p><strong>ใบ</strong> เป็นใบประกอบแบบขนนกสามชั้น ขนาดใหญ่เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากอยู่หนาแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่ กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ</p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายยอด ก้านช่อดอกยาว ดอกย่อยมีขนาดใหญ่ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 6-9 ซม.กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปปากแตร ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกสีเหลืองนวลหรือแกมเขียว กลีบด้านนอกมีสีม่วงแดง หนาย่น ดอกจะบานกลางคืนหรือรุ่งเช้า</p><p><strong>ผล</strong> เป็นฝักรูปดาบแบน ขนาดใหญ่ สีเขียว กว้าง 8-12 ซม. ยาว 40-60 ซม. เมื่อแก่ฝักเป็นสีน้ำตาลจะแตกออกตามยาว</p><p><strong>เมล็ด</strong> แบน มีปีกบางสีขาว</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบขึ้นได้ทั่วไป บริเวณ ชายป่าดิบ ที่โล่งและไร่ร้าง ที่ระดับต่ำจนถึงความสูง 800 ม.</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ประเทศอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออก - จีนตอนใต้ อินเดีย เนปาล ภูฏาน พม่า ไทย กัมพูชา ลาว เวียด นาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ต้น</strong> สมานแผล ทำน้ำเหลืองให้เป็นปกติ ขับน้ำเหลืองเสีย ขับเลือดดับพิษโลหิต บำรุงโลหิต แก้เสมหะจุกคอ ขับเสมหะ แก้อาการจุกเสียด ขับลมในลำไส้ แก้บิด แก้จุกเสียด แก้อาเจียนไม่หยุด ขับเลือดเน่าในเรือนไฟ แก้เบาหวาน แก้โรคมานน้ำ แก้องคสูตร แก้ริดสีดวงทวารหนัก ทวารเบา แก้ฟกบวม แก้คัน เปลือกต้น มีรสฝาดขมเย็น เป็นยาฝาดสมาน ดับพิษโลหิต ดับพิษกาฬ แก้ร้อนใน แก้น้ำเหลืองเสีย</p><p><strong>ราก</strong> เปลือกราก มีรสฝาดขมเย็น แก้ปวดท้อง เป็นยาฝาดสมาน บำรุงธาตุ แก้บิด แก้ท้องเสีย ขับเหงื่อ ทำให้เกอดน้ำย่อยอาหาร เจริญอาหาร แก้ท้องร่วง แก้บิด แก้ไข้สันนิบาต แก้อาการอักเสบ ฟกบวม</p><p><strong>ใบ</strong> มีรสฝาดขม นำมาต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง ปวดข้อ ทำให้เจริญอาหาร</p><p><strong>ผล</strong> ฝักอ่อน มีรสขมร้อนช่วยขับผายลม เป็นยากวาดประซะพิษซางเด็ก แก้ละองขึ้นในปาก คอลิ้น แก้ละอองไข้ ผิวหนังชา แก้ปวดฝี แก้อาการฟกบวมอักเสบฝักแก่มีรสขม แก้ร้อนใน กระหายน้ำ</p><p><strong>เมล็ด</strong> มีรสขม เป็นยาถ่าย เมล็ดแก่ใช้เป็นยาระบาย แก้ไอ ขับเสมหะ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 464 น.</p><p>องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2541. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร. 112 น.</p><p>ThaiHerbal.org. 2014. “เพกา.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://thaiherbal.org/1906 (24 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Oroxylum</em> <em>indicum</em> (L.) Kurz.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-317739 (24 ตุลาคม 2559)</p><p>Useful Tropical Plants. 2017. “Oroxylum indicum.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Oroxylum+indicum (24 ตุลาคม 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้