รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-04530


ชื่อวิทยาศาสตร์

Oryza sativa L.

สกุล

Oryza L.

สปีชีส์

sativa

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
ข้าวพันธุ์ข้าวดำห้วยปุก
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
POACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น สูงประมาณ 136 ซม. แตกเป็นกอ

ใบ รูปแถบ ใบเรียวยาว ปลายใบเรียวแหลม 

ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนง ช่อดอกย่อยรูปขอบขนานถึงรูปขนานแกมรูปใบหอก 

ผล รูปไข่ หรือรูปรี 

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

ทนต่อน้ำท่วมขัง

ถิ่นกำเนิด

จีน

การกระจายพันธุ์

ไม้การค้า

การปลูกและการขยายพันธุ์

เพาะเมล็ด แยกกอ

ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,สมุนไพร,พืชเศรษฐกิจ

-ข้าวเหนียวดำนึ่งรับประทานคล้ายกับข้าวเหนียวขาว แต่คุณภาพเนื้อสัมผัสจะแข็งกว่าจึงไม่นิยมรับประทานมากนัก
-เนื่องจากไม่นิยมรับประทานเป็นข้าวเหมือนกับข้าวเหนียวขาว จึงนิยมนึ่งสำหรับทำขนมหวาน อาทิ ข้าวเหนียวดำน้ำกะทิ ข้าวเหนียวดำกับถั่วดำ และข้าวหลาม เป็นต้น
-ข้าวเหนียวดำนึ่งนำมาหมักทำไวน์ หมักทำสาโท น้ำไวน์หรือน้ำสาโทที่ได้มีสีม่วงดำ
-ข้าวเหนียวดำนำมาสกัดสารแอนโทไซยานินส์สำหรับใช้เป็นสีผสมอาหาร ใช้ในทางการแพทย์ และเป็นส่วนผสมของอาหารเสริม

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

สุนทร มีพอ, พิชัย สุรพรไพบูลย์, พิกุล สุรพรไพบูลย์ และ สริตา ปิ่นมณ. 2558. การทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ในพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวงสะเนียนจังหวัดน่าน. วารสารวิจัย 8(2) : 56-60

Flora of China. “Oryza sativa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200025789 (11 สิงหาคม 2560)

Puechkaset. “ข้าวเหนียวดำ/ข้าวก่ำ สรรพคุณ และการปลูกข้าวเหนียวดำ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://puechkaset.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B3/ (11 สิงหาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้