รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-04609


ชื่อวิทยาศาสตร์

Pandanus humilis Lour.

สกุล

Pandanus Parkinson

สปีชีส์

humilis

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

Fisquetia ovata Gaudich.

Pandanus leucocephalus Gagnep.

Pandanus ovatus (Gaudich.) Kurz

Pandanus perakensis Ridl.

Pandanus pierrei Martelli

Pandanus pierrei var. bariensis Martelli

Vinsonia humilis (Lour.) Gaudich.

ชื่อไทย
เตยหนู
ชื่อท้องถิ่น
กะเปียะหนู(นราธิวาส)/ เตย(กลาง,เหนือ) / เตยหนู(ตรัง,นราธิวาส) / เตยหอม(กทม.,เลย) / ฮิชิง(ปัตตานี)
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
PANDANACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้พุ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น สูง 2.5 ม. 

ใบ รูปแถบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 2 ม. ขอบใบ เส้นกลางใบ มีหนาม  ยาว 1-3 มม. 

ดอก แยกเพศอยู่คนละต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจะ 5-9 ช่อ ยาว 5-6 ซม. ดอกเพศเมียกลม 

ผล กลม ผิวขรุขระเป็นเหลี่ยม 

เมล็ด 

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

พื้นที่สูง 1,000 ม. จากระดับทะเลปานกลาง

ถิ่นกำเนิด

เอเชียเขตร้อนและเขตอบอุ่น แอฟริกา แถบแปซิฟิก ออสตราเลเซีย

การกระจายพันธุ์

อัสเซนชัน เบอร์มิวดา หมู่เกาะซาโลมอน คอสตาริกา คิวบา จาไมกา แม็กซิโก หมู่เกาะลีเวิร์ด เกาะฟีนิกซ์ ปวยร์โตรีโก หมู่เกาะวินด์เวิร์ด เยเมน

การปลูกและการขยายพันธุ์

ปักชำ

ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ตกแต่งสวน

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

Plant Resources of South-East Asia. “Pandanus humilis Lour.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://uses.plantnet-project.org/en/Pandanus_humilis_(PROSEA) (2 พฤศจิกายน 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Pandanus Parkinson.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:31599-1 (2 พฤศจิกายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้