Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Phyllanthus</em> <em>acidus</em> (L.) Skeels</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Averrhoa</em> <em>acida</em> L.</p><p><em>Cicca</em> <em>acida</em> (L.) Merr.</p><p><em>Cicca</em> <em>acidissima</em> Blanco</p><p><em>Cicca</em> <em>nodiflora</em> Lam.</p><p><em>Diasperus</em> <em>acidissimus</em> (Blanco) Kuntze</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 5-10 ม. ลำต้นเปลาตรงและแตกกิ่งก้านสาขาทึบบริเวณยอด กิ่งก้านเปราะหักง่าย เปลือกต้นขรุขระมีเท่าปนน้ำตาล</p><p><strong>ใบ</strong> ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ ระนาบเดียว บนกิ่งที่ยาวประมาณ 15-30 ซม. ดูคล้ายใบประกอบ แต่ละกิ่งมี 20-30 คู่ ใบรูปไข่ รูไข่แกมรูปหอก รูปขอบขนาน หรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูน กว้าง 1.3-3.5 ซม. ยาว 2.5-7.5 ซม. ฐานใบมน ปลาบใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบ</p><p><strong>ดอก </strong>ออกเป็นช่อ ตามกิ่ง ช่อดอกยาว 5-10 ซม. ดอกแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้เกิดที่ปลายช่อ กลีบเลี้ยง 6 กลีบ แยกกัน ไม่มีกลีบดอก มีเกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมีย มีกลีบเลี้ยงสีชมพูแดง 6 กลีบ ฉ่ำน้ำ มีรสเปรี้ยว</p><p><strong>ผล </strong>รูปร่างกลมแบน มี 6-8 ร่อง เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 ซม. ผลอ่อนสีเขียวเมื่อแก่เป็นสีเหลืองหรือขาวแกมเหลือง</p><p><strong>เมล็ด </strong> เมล็ดภายในรูปร่างกลมและคอนข้างแข็งมีสีน้ำตาลอ่อนและมีจำนวน 1 เมล็ดผลจะอ่อนนุ่มเมื่อสุก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พื้นที่สูง 200-2,300 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p> Brazil</p>
การกระจายพันธุ์
<p>กัมพูชา อินเดีย มาเลเซีย พม่า เนปาล ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา ไทย อเมริกา</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ปักชำกิ่ง เพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ยอด</strong> ยอดอ่อนรับประทานเป็นผัก</p><p><strong>ราก </strong>แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง แก้ประดง แก้เม็ดผื่นคัน ขับน้ำเหลืองให้แห้ง</p><p><strong>ใบ </strong>แก้พิษคัน แก้พิษไข้หัว หัด และ อีสุกอีใส</p><p><strong>ผล </strong>รักษาโรคมะเร็ง ช่วยชะลอวัยและความเสื่อมของเซลล์ต่างๆในร่างกาย ช่วยดับร้อนและปรับสมดุล ดับพิษเสมหะ ยาระบาย ยาอายุวัฒนะ ช่วยบำรุงโลหิต</p><p><strong>ผลแก่</strong> มีรสเปรี้ยว รับประทานเป็นผลไม้ นำมาดอง หรือแช่อิ่ม</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 2555. พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ ดอคคิวเมนทารี ดีไซด์ จำกัด. เชียงใหม่. 315 น.</p><p>ThaiHerbal.org. 2015. “มะยม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/1071 (29 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Phyllanthus</em> <em>acidus</em> (L.) Skeels.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-153279 (29 ตุลาคม 2559)</p><p>The Royal Botanic Gardens,Kew science. “<em>Phyllanthus acidus</em> (L.) Skeels.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:194610-2 (29 ตุลาคม 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้