Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Piper</em> <em>interruptum</em> Opiz</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Piper</em> <em>interruptum</em> var. <em>multinervum</em> C. DC.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> มีข้อปล้อง เนื้อไม้เป็นเส้นยาว หน้าตัดตามขวางมีลาย เป็นเส้นรัศมี เปลือกค่อนข้างอ่อน เนื้อไม้สีขาว</p><p><strong>ใบ</strong> เดี่ยว ใบรูปไข่ถึงรูปไข่กว้าง คล้ายใบพริกไทย แต่แคบกว่าใบสีเขียวเข้ม กว้าง 4-7 ซม. ยาว 6-13 ซม. โคนใบกลม ปลายใบแหลมสั้น </p><p><strong>ดอก</strong> ออกป็นช่อยาวเล็ก สีครีม ดอกย่อยอัดกันแน่น คล้ายดอกพริกไทยหรือดอกดีปลี</p><p><strong>ผล</strong> รูปไข่ กว้าง 2-4 มม. ยาว 3-6 มม. ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีแดงคล้ำ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ป่าดิบชื้น พื้นที่สูง 0-750 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน เกาะนิวกินี </p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย </p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง ปักชำ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>เครือ </strong>ใช้ประกอบอาหารช่วยเพิ่มรสเผ็ด เช่นใส่แกงหน่อ แกงขนุน</p><p><strong>เนื้อไม้ </strong>ซอยใส่ลาบ ใส่แกง</p><p><strong>ลำต้น </strong>ใช้ใส่แกง ช่วยให้มีกลิ่นหอม เป็นเครื่องเทศปรุงอาหารเพิ่มรสเผ็ด<br />ดับกลิ่นคาว ตากแห้งผสมกับ เปลือกลำต้นนางพญาเสือโคร่ง ลำ ต้นฮ่อสะพายควาย ม้ากระทืบโรง ตานเหลือง มะตันขอ ข้าวหลามดง หัวยาข้าวเย็น แก่นฝาง ไม้มะดูก และ โด่ไม่รู้ล้มต้มน้ำดื่มเป็นยาบำรุงกำลัง แก้อาการปวดเมื่อย</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง (องค์กรมหาชน). 2553. “สะค้าน , จะค่าน.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=917&name=%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%20,%20%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%20&txtSearch=&sltSearch= (7 มกราคม 2560)</p><p>Flora of China. “Piper interruptum.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200005568 (7 มกราคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Piper interruptum Opiz.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2569086 (7 มกราคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Piper interruptum Opiz.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:681773-1 (25 ตุลาคม 2560)</p><p>Useful Tropical Plants. 2014. “Piper interruptum.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Piper+interruptum (25 ตุลาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้