Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Piper</em> <em>nigrum</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Muldera multinervis</em> Miq.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้เถาเลื้อยพัน ข้อโป่งนูนมีรากฝอยเพื่อใช้ยึดเกาะ</p><p><strong>ใบ </strong>เป็นใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่ กว้าง 5-8 ซม. ยาว 8-11 ซม. โคนมน ปลายแหลม ผิวเรียบมัน</p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อ บนแกน ยาว 7-15 ซม. มี 50-150 ดอกต่อช่อ ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็กไม่มีก้านดอก ดอกย่อยสมบูรณ์เพศ ลักษณะกลม ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบรองดอกเริ่มบานจากส่วนโคนไปปลายช่อ</p><p><strong>ผล</strong> ผลสด รูปกลม ขนาด 0.3-0.5 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีแดง เมื่อแห้สีดำ เมล็ดสีขาว</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ปลูกทั่วไป ในประเทศแถบศูนย์สูตรที่มีอากาศร้อนชื้น ในประเทศไทยปลูกมากที่จังหวัดจันทบุรี พื้นที่สูง 0-1,500 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ศรีลังกา อินเดีย และไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ไม้การค้า</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ใบ</strong> แก้ลมจุกเสียดแน่น ท้องอืดเฟ้อ</p><p><strong>ผล</strong> นำมาเป็นเครื่องเทศ แต่งกลิ่นอาหาร</p><p><strong>ดอก</strong> แก้ตาแดง เนื่องจากความดันโลหิตสูง และ ถนอมอาหารหลายชนิด เช่น มะม่วงดอง</p><p><strong>เมล็ด </strong>ใช้เป็นยาช่วยย่อยอาหาร ย่อยพิษตกค้างที่ไม่สามารถย่อยได้ ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับลม ขับปัสสาวะ บำรุงธาตุ แก้ท้องอืด แก้ปวดท้อง ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ แก้ระดูขาว แก้ลมอัมพฤกษ์ ในเมล็ดพริกไทยยังมีสารสำคัญ ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันมะเร็ง และมีฤทธิ์กระตุ้นประสาท</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 464 น.</p><p>องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2540. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 3.โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร. 155 น.</p><p>อภิชาต ศรีสะอาด. 2551. สมุนไพรไล่แมลงและกำจัดศัตรูพืช & พรรณไม้พิษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. บริษัท นาคาอิเตอร์มีเดีย จำกัด. 116 น.</p><p>ThaiHerbal.org. 2014. “พริกไทย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/590 (18 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Piper nigrum L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2569664 (25 ตุลาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Piper nigrum L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:682369-1 (25 ตุลาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้