รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-05519


ชื่อวิทยาศาสตร์

Syzygium sp.

สกุล

Syzygium Gaertn.

สปีชีส์

-

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
เสม็ดแดงภูหลวง
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
MYRTACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น: เป็นไม้ยืนต้น สูง 10-15 เมตร กิ่งเป็นสี่เหลี่ยม

ใบ: ใบออกตรงกันข้าม ปลายแหลม โคนมน ยอดอ่อนเป็นสีแดง

ดอก: ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลืองอ่อน มีเกสรตัวผู้จำนวนมาก เวลามีดอกดกและดอกบานพร้อมกันจะดูสวยงามมาก

ผล: ทรงกลม โตเต็มที่ประมาณลูกปัดทั่วไป ผลเป็นสีขาว ติดผลดกเป็นพวง

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

 

สกุล Syzygium มีถิ่นกำเนิดในเอเชียเขตร้อน แอฟริกา แปซิฟิก ออสตราเลเซีย และเอเชียเขตอบอุ่น

การกระจายพันธุ์

สกุล Syzygium กระจายพันธุ์ในเอเชียเขตร้อน แอฟริกา แปซิฟิก ออสตราเลเซีย เอเชียเขตอบอุ่น และอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้

การปลูกและการขยายพันธุ์

เพาะเมล็ด

ตอนกิ่ง

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,สมุนไพร

ใบสด  ตำพอกแก้เคล็ดยอกฟกบวมดีมาก

ใช้ใบ มะกรูด หรือ ใบพลู รมควันใต้ใบ “เสม็ดแดง” พออุ่นๆ นำไปนาบท้องเด็กแก้ท้องขึ้นท้องอืดและแก้ปวดท้องเด็กเด็ดขาดยิ่ง

ยอดอ่อน กินเป็นยาขับลม

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

ไทยรัฐออนไลน์. 2556. “"เสม็ดแดง" สรรพคุณดีผลอร่อย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.thairath.co.th/content/376130 (21 กรกฎาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens,Kew science. “Syzygium Gaertn.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:327906-2 (21 กรกฎาคม 2560)

wikipedia. “เสม็ดแดง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/เสม็ดแดง (21 กรกฎาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้