รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-05690


ชื่อวิทยาศาสตร์

Tinospora baenzigeri Forman

สกุล

Tinospora Miers

สปีชีส์

baenzigeri 

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

ไม่มี

ชื่อไทย
ชิงช้าชาลี
ชื่อท้องถิ่น
จุ่งจะลิงตัวแม่ (เหนือ)
ชื่อสามัญ
Chingcha chali
ชื่อวงศ์
MENISPERMACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้เลื้อย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น: ไม้เถาเลื้อยพัน เถามีปุ่มปมเล็กน้อย ทุกส่วนมีรสขมโดยเฉพาะเถาแก่ 

ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปหัวใจ ด้านหลังใบใกล้กับฐานใบมีปุ่มเล็กๆ 2 ปุ่มอยู่บนเส้นใบ

ดอก: ดอกช่อ ออกตามเถาและที่ซอกใบ ดอกย่อยมีขนาดเล็กมาก ไม่มีกลีบดอก

ผล: ผลสด ค่อนข้างกลม 

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

พบตามป่าทั่วไป

ถิ่นกำเนิด

มาเลเซีย ไทย และเวียดนาม

การกระจายพันธุ์

กัมพูชา เนปาล อินเดีย อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ ไทย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ปักชำ เพาะเมล็ด

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
สมุนไพร

เถา แก้ไข้ ใช้แทนเถาบอระเพ็ด บำรุงธาตุ เจริญอาหาร แต่จากงานวิจัย ไม่มีฤทธิ์ลดไข้ แต่มีฤทธิ์แก้ปวดและลดการอักเสบ

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ. 2553. “ชิงช้าชาลี.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/siri/index.php?page=search_detail&medicinal_id=212 (31 กรกฎาคม 2560)

Flora Malesiana. “Tinospora baenzigeri.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://portal.cybertaxonomy.org/flora-malesiana/node/12779 (31 กรกฎาคม 2560)

The Plant List. 2013. “Tinospora baenzigeri Forman.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2517142 (31 กรกฎาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens,Kew science. “Tinospora baenzigeri Forman.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:898933-1 (31 กรกฎาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้