รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-00584


ชื่อวิทยาศาสตร์

Aspidistra sutepensis K.Larsen

สกุล

Aspidistra Ker Gawl.

สปีชีส์

sutepensis

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
นางแลว
ชื่อท้องถิ่น
เดาะไค้ลา (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่)/ เฒ่าลืมไม้เท้า (เชียงใหม่)
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
ASPARAGACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น มีเหง้าใต้ดิน แตกกอกว้าง

ใบ ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ก้านใบยาว 10-20 ซม. ใบรูปใบหอกกลับ ยาว 90-150 ซม. กว้าง 12-18 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง ปลายใบแหลม

ดอก ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาว 20-33 ซม. กลีบประดับสีม่วง กลีบดอกสีขาวแกมม่วง

ผล ผลกลม สีม่วง

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

พบขึ้นตามป่าดงดิบ ป่าแล้ง ป่าดิบเขา ทุกภาคของประเทศไทย แต่จะมีมากที่สุดทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจะขึ้นอยู่ตามริมห้วย ริมลำธาร

ถิ่นกำเนิด

สกุล Aspidistra ในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะจีนและเวียดนาม

การกระจายพันธุ์

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด หรือแยกเหง้า

ระยะเวลาการติดดอก
สิงหาคม-พฤศจิกายน
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,สมุนไพร,พืชประดับ

ดอกอ่อน รับประทานได้ ลวกจิ้มน้ำพริกชนิดต่างๆ หรือปรุงเป็นแกงกับปลาแห้ง

ราก รสขมเฝื่อน ต้มน้ำดื่มเป็นยาแก้ไข้ หรือแก้ไอ

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

ไทยรัฐออนไลน์. 2552. “"นางแลวดอกม่วง" อร่อยรากเป็นยา.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.thairath.co.th/content/54830 (17 กรกฎาคม 2560)

Ethnobotany of Karen in Khun Tuen Noi Chiang Mai. “Aspidistra sutepensis K.Larsen.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://khuntuennoi.myspecies.info/taxonomy/term/104 (17 กรกฎาคม 2560)

The Plant List. 2013. “Aspidistra sutepensis K.Larsen.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-275681 (17 กรกฎาคม 2560)

wikipedia. “Aspidistra.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Aspidistra (17 กรกฎาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้