Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Vitis vinifera</em> L. 'Looge perlette'</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Vitis</em> <em>vinifera</em> L. </p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>องุ่นเป็นไม้เลื้อยประเภทยืนต้น มีอายุยาวนานหลายปี การปลูกจะต้องมีค้างรองรับ เถาองุ่นจะมีลักษณะเป็นปล้อง</p><p><strong>ใบ </strong>บริเวณข้อจะมีใบ 1 ใบอยู่เรียงสลับกันไปตามข้อ บริเวณโคนก้านใบจะมีกิ่งแขนงเล็ก 1 กิ่งและตา 1 ตา เป็นตารวมประกอบด้วยตาเอก (Primary bud) 1 ตาอยู่ตรงกลางและตารอง (Secondary bud) 2 ตา ตาเอกมีความสำคัญมากเพราะประกอบด้วยตายอดมือและกลุ่มของดอก</p><p><strong>ดอก </strong>มีมือจับซึ่งเป็นช่อดอกที่ไม่พัฒนาอยู่ตรงข้ามกับใบ</p><p><strong>ผล </strong>ผลองุ่นจะมีลักษณะเป็นพวงแบบที่เรียกว่าราคีส (rachis) ผลมีหลากหลายลักษณะ ขนาดและสี ส่วนองุ่นพันธุ์ ''Looge perlette'' ผลมีสีเหลือง ภายในผลอาจจะมีเมล็ดหรือไม่มีก็ได้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ ในเขตอบอุ่นหรือเขตหนาวองุ่นจะพักตัวในฤดูหนาว เมื่ออากาศอบอุ่นก็จะแตกตาเกิดยอดใหม่ ซึ่งจะออกดอกและติดผลบนกิ่งใหม่</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>สามารถปลูกได้ในสภาพพื้นที่หลากหลาย แต่บนพื้นที่สูงที่มีอากาศหนาวเย็นจะทำให้องุ่นออกดอกและให้ผลผลิตได้ดี และผลผลิตมีคุณภาพดี แต่อย่างไรก็ตามบนพื้นที่สูงจะมีปัญหาฝนตกมากเกินไปและแสงแดดน้อย ทำให้มีปัญหาเรื่องโรคทำลายมาก จึงควรปลูกในสภาพโรงเรือน</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>องุ่นมีถิ่นกำเนิดในยุโรป และประเทศคีร์กีซสถาน</p>
การกระจายพันธุ์
<p>องุ่นมีการกระจายพันธุ์ไปยังเบลเยียม โมร็อกโก โปแลนด์ โปรตุเกส เอธิโอเปีย โตเบโก ตูนิเซีย ฯลฯ</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการปักชำ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>องุ่นเป็นผลไม้ที่คนไทยรู้จักคุ้นเคยมานานแล้ว ส่วนใหญ่จะนิยมบริโภคผลสด และนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง เช่น น้ำองุ่นและไวน์ สำหรับองุ่นที่มูลนิธิโครงการหลวงปลูกส่วนใหญ่เน้นเพื่อการบริโภคผลสดเป็นหลัก</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน. 2559. "องุ่น". [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://hkm.hrdi.or.th/knowledge/detail/96 (10 เมษายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Vitis vinifera L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2457006 (10 เมษายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens,Kew science. “Vitis vinifera.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:30478388-2 (10 เมษายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้