Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Sphagneticola trilobata </em>(L.) Pruski</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Acmella</em> <em>brasiliensis</em> Spreng.</p><p><em>Acmella</em> <em>spilanthoides</em> Cass.</p><p><em>Buphthalmum</em> <em>procumbens</em> Desf. ex Steud.</p><p><em>Buphthalmum</em> <em>procumbens</em> Desf.</p><p><em>Buphthalmum</em> <em>repens</em> Lam.</p><p><em>Buphthalmum</em> <em>strigosum</em> Spreng.</p><p><em>Complaya</em> <em>trilobata</em> (L.) Strother</p><p><em>Polymnia</em> <em>carnosa</em> var. <em>carnosa</em></p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้เลื้อยอายุหลายปี ความสูง10-15 ซม. ลำต้นแตกแขนงและทอดเลื้อยไปตามผิวดิน </p><p>สีน้ำตาลเรื่อ รากแตกตามข้อ ทุกส่วนมีขนสากปกคลุม ส่วนยอดชูตั้งขึ้น</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่ถึงรูปรี ขอบใบเว้าเป็น 3 แฉกเล็กๆ และจักฟันเลื่อย ก้านใบสั้นมาก </p><p><strong>ดอก</strong> เป็นช่อกระจุกที่ปลายยอด ดอกวงนอก 7 – 10 ดอก สีเหลืองสด </p><p><strong>ผล </strong>ไม่มี</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>อัตราการเจริญเติบโตเร็ว สภาพดินร่วน มีอินทรียวัตถุสมบูรณ์ ระดับน้ำปานกลาง ทนแล้ง ต้องการแสงแดดตลอดวัน</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>พืชในจีนัสนี้มีถิ่นกำเนิดในเอเชียเขตร้อน-เขตอบอุ่น อเมริกาใต้ และอเมริกาเหนือ </p>
การกระจายพันธุ์
<p>พืชในจีนัสนี้มีการกระจายพันธุ์ไปยังออสเตรเลีย มหาสมุทรแปซิฟิก แอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ แอฟริกาใต้ตอนใต้ เอเชียตะวันตก</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการปักชำ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ปลูกคลุมดินบริเวณริมน้ำ ตัดขอบสวนหย่อมและพื้นที่ลาดชันเพื่อรักษาหน้าดิน ควรตัดแต่งสม่ำเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้เป็นที่อยู่ของสัตว์มีพิษ</p>
หมายเหตุ
<p>โรคและแมลงศัตรูพืชคือ เพลี้ยแป้ง</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “กระดุมทองเลื้อย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2&keyback=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2 (23 สิงหาคม 2560)</p><p>สำนักพิมพ์บ้านและสวน. 2015. “กระดุมทองเลื้อย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://book.baanlaesuan.com/plant-guide/creeping-daisy/ (3 ธันวาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Sphagneticola trilobata (L.) Pruski.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/gcc-5859 (3 ธันวาคม 2559)</p><p>The Royal Botanic Gardens,Kew science. “Sphagneticola trilobata.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:328475-2 (23 สิงหาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้