Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Ficus lacor </em>Buch.-Ham.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Ficus aegeirophylla</em> (Miq.) Miq.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> เป็นไม้อิงอาศัยเมื่ออายุน้อย แผ่กิ่งก้านสาขาพันต้นไม้อื่น มีรากอากาศห้อยย้อยลงมา</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยวเรียงสลับเวียน ก้านใบ ยาว 2.5-7.0 ซม. แผนใบรูปใบหอกยาว กว้าง 2.-7.0 ซม. ยาว 9-22 ซม. โคนใบมนเล็กน้อยหรือสอบแคบเล็กน้อย ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลี้ยง เนื้อใบอ่อนนถ่มสีเขียวอ่อน สีชมพู สีแดงเข้มถึงแดงอมน้ำตาล ใบแก่บาง เหนียว สีเขียว </p><p><strong>ดอก</strong> ดอกออกในโครงสร้างของผลเดี่ยวหรือคู่ ตามช่วงล่างของกิ่งหรือตามซอกใบ มีทั้งดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย</p><p><strong>ผล</strong> ค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6-1.2 ซม. มีทั้งสีเขียว สีขาวหม่น สีชมพู เมื่อผลสุกสีแดงเข้มถึงม่วง ผิวฉ่ำน้ำ มีกาบใบเลี้ยงรองที่โคน</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ป่าพื้นที่ล่างถึงป่าดิบเขา ขึ้นตามหินในแหล่งน้ำใกล้แหล่งน้ำ ถึงที่ค่นข้างแห้งแล้ง ในระดับต่ำถึง 1,500 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
การกระจายพันธุ์
<p>อินเดีย ศรีลังกา พม่า มาเลเซีย จีนตอนใต้ ประเทศในคาบสมุทรอินโด</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ตอนกิ่งและชำกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ยอดอ่อน</strong> ใช้เป็นอาหาร ผักเคียง</p>
หมายเหตุ
แหล่งอ้างอิง
<p>มูลนิธิโครงการหลวง. 2552. องค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย เล่ม 2. อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร.752 น.</p><p>Flora of China. “Ficus lacor” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.efloras.org (17 พฤศจิกายน 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Ficus lacor Buch.-Ham.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org (17 พฤศจิกายน 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้