Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Coccoloba uvifera</em> (L.) Jacq.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Polygonum uvifera</em> L.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงไม่เกิน 10 ม. ทรงพุ่มกลม มีขนาดทรงพุ่ม 2-7 ม. เปลือกต้นสีน้ำตาลเทา มีรอยด่างและเป็นปุ่มปม</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว มีการเรียงตัวของใบแบบสลับ ลักษณะใบเป็นรูปกลม ปลายใบมน โคนใบเว้าหรือกลม ขอบใบเรียบและยกขึ้น แผ่นใบหนาและแข็งสีเขียวสดเป็นมัน มีเส้นใบแบบแขนงสีเหลืองหรือแดง นูนเด่น ใบมีความกว้างประมาณ 24 ซม. และมีความยาวประมาณ 16-18 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 0.5-1 ซม.</p><p><strong>ดอก </strong>เป็นช่อแบบเชิงลดที่ปลายกิ่ง ช่อดอกห้อย มีความยาวประมาณ 20-30 ซม. ดอกมีขนาดเล็ก มีเส้นผ่าศูนย์กลางดอก 0.5 ซม. สีขาว เกิดบนกระจุกเดียวกัน กระจุกละ 3 ดอก กลีบดอกเป็นกลีบรวม 5 กลีบ เกสรตัวผู้ 6 อัน ออกดอกตลอดปี</p><p><strong>ผล </strong>ผลเป็นผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดียว ทรงกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.0 ซม. โคนสอบเข้าที่ขั้วผล รูปทรงคล้ายแอปเปิ้ลขนาดเล็ก เป็นช่อคล้ายองุ่น เปลือกและเนื้อผลบาง สีเขียว เมื่อสุกจะเป็นสีน้ำตาลอ่อนอมส้ม เมล็ดมีเปลือกหุ้มแข็งแต่บาง เมล็ดทรงกลม สีน้ำตาลอมดำ ติดผลตลอดปี</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบได้ทั่วไปตามหาดทราย</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>อเมริกาเขตร้อน</p>
การกระจายพันธุ์
<p>กระจายพันธุ์ในประเทศเม็กซิโก อินเดียตะวันตก อเมริกากลาง อเมริกาใต้</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เป็นไม้กลางแจ้ง ชอบพื้นที่ที่มีแดดจัดและความชุ่มชื้นพอเหมาะ</p><p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด และตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>เปลือกนอกและเนื้อผลใช้รับประทาน มีรสชาติหอมหวานคล้ายองุ่น</p>
หมายเหตุ
แหล่งอ้างอิง
<p>Flora of China. “<em>Coccoloba uvifera</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.efloras.org (19 พฤศจิกายน 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้