Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Ocimum tenuiflorum </em>L<strong>.</strong></p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Geniosporum</em> <em>tenuiflorum</em> (L.) Merr.</p><p><em>Lumnitzera</em> <em>tenuiflora</em> (L.) Spreng.</p><p><em>Moschosma</em> <em>tenuiflorum</em> (L.) Heynh.</p><p><em>Ocimum</em> <em>anisodorum</em> F.Muell.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30-60 ซม. โคนลำต้นค่อนข้างแข็ง ตามกิ่งก้านมีขน ลำต้นมีสีม่วงแดง</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว สีม่วงแดง ออกเรียงตรงข้าม ใบรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย และเป็นคลื่น แผ่นใบมีขนใบกว้าง 8-10 ซม. ยาว 2.5-5.0 ซม.</p><p><strong>ดอก </strong>ออกเป็นช่อ แบบช่อฉัตร ออกบริเวณยอดหรือปลายกิ่ง ช่อดอกยาว 8-10 ซม. ประกอบด้วยดอกเล็ก ๆ ออกเป็นวงรอบช่อ เรียงเป็นชั้น ก้านดอกยาว 2-3 มม. และกางออกเกือบตั้งฉากกับแกนช่อ โคนกลีบเลี้ยงติดกันเป็นรูปคล้ายระฆัง ปลายแยกเป็นสองส่วน กลีบเลี้ยงสวนบนมีกลีบเดียวค่อนข้างกลม กลีบเลี้ยงส่วนล่างปลายแยกเป็น 4 แฉก กลีบดอกสีขาวหรือขาวปนม่วงแดง รูปปากเปิด ด้านบนมี 4 กลีบปลายกลีบมนมีขนาดใกล้เคียงกัน ด้านล่างมี 1 กลีบขนาดยาวกว่าด้านบน กลางกลีบเว้นตื้น ๆ ปลายกลีบม้วนพับลง มีขนละเอียดประปราย เกสรเพศผู้ 4 อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน อับเรณูสีเหลืองสด โคนก้านอับเรณูมีขน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไม่มี 4 พู</p><p><strong>ผล </strong>ผลแห้งแตก</p><p><strong>เมล็ด</strong> มีขนาดเล็ก รูปไข่ สีน้ำตาล เมื่อนำไปแช่น้ำเปลือกหุ้มเมล็ดพองออกเป็นเมือก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>-</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เอเชียเขตร้อน</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียเขตร้อน</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ปักชำ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ใบและยอดกะเพรา</strong> ลดอาการท้องอืดเฟ้อ ขับลม แก้ปวดท้อง บำรุงธาตุ ขับผายลม แก้อาการจุกเสียดในท้อง ทำให้เรอ แก้ท้องร่วง แก้คลื่นไส้อาเจียน ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ใช้ทาภายนอกแก้โรคผิวหนัง แก้อาการปวดท้องในเด็กทารก ใช้ใบสดตำให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำนำมาผสมกับน้ำยามหาหิงคุ์ แล้วใช้ทาบริเวณ รอบๆ สะดือ และทาที่ฝ่าเท้าแก้อาการปวดท้องของเด็กได้ ใช้เป็นยาเพิ่มน้ำนมสตรีหลังคลอด ขับน้ำนม บรรเทาอาการไข้เรื้อรัง แก้ปวดฟัน</p><p>โบราณใช้น้ำคั้นใบกะเพรา กินเพื่อขับเหงื่อ แก้ไข้ ขับเสมหะ ขับลม แก้ปวดท้อง แก้ท้องเสีย ทาผิวหนังแก้กลากเกลื้อนและโรคผิวหนังอื่นๆ ใช้หยอดหู แก้อาการปวดหู ใบกะเพราะทำเป็นยาชง ใช้เป็นยาบำรุงธาตุ และขับลมในเด็กอ่อน คนไทยสมัยก่อนนิยมกินแกงเลียงใบกะเพราหลังคลอดบุตร เพื่อขับลมและบำรุงธาตุให้เป็นปกติ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>รศ. บุศบรรณ ณ สงขลา. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก</p><p>Thaicrudedrug.com. 2010. “กะเพราแดง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=9 (8 สิงหาคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Ocimum</em> <em>tenuiflorum</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-137105 (8 สิงหาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้