Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Pachyrhizus</em> <em>erosus</em> (L.) Urb.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Cacara</em> <em>bulbosa</em> Thouars</p><p><em>Cacara</em> <em>bulbosa</em> Rumphius ex Du Petit-Thouars</p><p><em>Pachyrhizus</em> <em>erosus</em> var. <em>erosus</em></p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> มันแกวเป็นไม้เลื้อย มีลำต้นเป็นเถาเลื้อยยาวไปตามดินหรือกิ่งไม้ ยาวได้มากกว่า 3-10 ม.ลักษณะลำต้นเป็นเถาสีเขียวอ่อน เขียวแก่จนถึงเขียวออกน้ำตาลตามอายุของต้น และมีขนปกคลุม</p><p><strong>ใบ </strong>ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ในก้านใบเดียวกันเหมือนกับใบถั่วเหลืองหรือถั่วฝักยาว ลักษณะใบเมื่ออ่อนจะบางอ่อน มีสีเขียวอ่อน ส่วนใบแก่มีลักษณะหนาหยาบ สีเขียวเข้ม ปลายใบไม่เรียบ ใบประกอบแต่ละใบ ยาว 1 ถึง 6 นิ้ว เรียงซ้อนกัน ใบกลางจะสูงกว่า</p><p><strong>ดอก </strong>กลีบดอกใหญ่ มีสีม่วงแกมน้ำเงินหรือสีขาว ยาว 5/8-7/8 นิ้ว ช่อดอกจะออกเดี่ยว ๆ ที่ซอกใบมีขนสีน้ำตาล</p><p><strong>ผล </strong>ผลเป็นฝักแบน ตรง มีลักษณะเรียวยาว มีขนเล็กน้อย ฝักอ่อนจะมีสีเขียว และสีเขียวแก่ สีน้ำตาล จนถึงสีดำเมื่อแก่ ยาวประมาณ 3.0-5.5 นิ้ว กว้าง 1/2-5/8 นิ้ว ภายในฝักจะประกอบด้วยเมล็ดประมาณ 4-9 เมล็ด มีลักษณะรูปสี่เหลี่ยม กว้างประมาณ 1/4 ยาวประมาณ 3/8 นิ้ว เมล็ดแก่จะมีพิษอันตรายถึงเสียชีวิตหากรับประทาน</p><p><strong>รากและหัว </strong>รากที่ติดกับลำต้นซึ่งเรียกว่า หัวหรือหัวมันแกวมีลักษณะเป็นหัวใหญ่ ผิวเรียบ มีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นส่วนที่สะสมอาหาร โดยเฉพาะแป้ง น้ำตาล และน้ำ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ชอบอากาศค่อนข้างร้อน มีฝนปานกลาง ในอากาศที่หนาว ระยะเจริญเติบโตจะยาวนาน ในการผลิตหัวต้องการวันสั้น ควรปลูกในระยะต้นถึงปลายฤดูฝน เพื่อเก็บหัวในฤดูแล้ง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศเม็กซิโก และประเทศในแถบอเมริกากลาง</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ปัจจุบันมีการปลูกมันแกวอยู่เกือบทั่วประเทศ มีปริมาณมากบ้างน้อยบ้างตามความเหมาะสมกับภูมิประเทศ จังหวัดที่ปลูกมันแกวมากที่สุดของประเทศ ได้แก่ จังหวัดมหาสารคาม</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>มันแกวมีวิตามิน C และเส้นใยสูง มีประโยชน์ต่อระบบขับถ่าย และป้องกันไข้หวัดได้ดีมาก ส่วนใบของมันแกวนั้นมีคุณสมบัติในการรักษาโรคผิวหนังอย่างกลาก เกลื้อน และยังเป็นยาถ่ายพยาธิที่มีสรรพคุณดีตัวหนึ่ง</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. 2559. “มันแกว.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=5&chap=5&page=t5-5-infodetail03.html (20 ตุลาคม 2559)</p><p>อภิชาต ศรีสะอาด. 2551. สมุนไพรไล่แมลงและกำจัดศัตรูพืช & พรรณไม้พิษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. บริษัท นาคาอิเตอร์มีเดีย จำกัด. 116 น.</p><p>Puechkaset.com. 2016. “มันแกว.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://puechkaset.com/มันแกว/ (20 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Pachyrhizus</em> <em>erosus</em> (L.) Urb.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/ild-2918 (8 สิงหาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้