Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Ailanthus</em> <em>triphysa</em> (Dennst.) Alston</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Adenanthera</em> <em>triphysa</em> Dennst.</p><p><em>Ailanthus</em> <em>malabarica</em> DC.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> ไม่พุ่มหรือไม้ยืนต้น มีเปลือกขม </p><p><strong>ใบ</strong> ใบประกอบแบบขนนก บางครั้งออกตรงข้าม มีหรือไม่มีหูใบ </p><p><strong>ดอก</strong> ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อแบบกระจะ แบบแยกแขนง หรือแบบช่อกระจุก ไม่ค่อยมีช่อแบบเชิงลด ดอกโดยทั่วไปมีขนากเล็ก แบบดอกสมบูรณ์เพศหรือเพศเดียว ดอกสมมาตร กลีบเลี้ยง 4 หรือ 5 กลีบ ซ้อนกัน กลีบเลี้ยงมักจะมี 4 หรือ 5 กลีบ เกสรเพศผู้เท่ากับจำวนกลีบเลี้ยง ไม้มีก้านชุเกสรเพศผู้ อับเรณูรูปขอบขนาน รังไข่อยู่บนฐานรองดอก</p><p><strong>ผล</strong> ผลแบบเมล็ดเดียว เมล็ดแข็ง หรือ ผลปีกเดียว </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>-</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>-</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “มะยมป่า.”<strong> </strong>[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=มะยมป่า&keyback=มะยมป่า (25 พฤศจิกายน 2559)</p><p>Flora of China. “Ailanthus triphysa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=242301855 (25 พฤศจิกายน 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Ailanthus triphysa (Dennst.) Alston” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/tro-29400165 (25 พฤศจิกายน 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้