Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Homalomena </em>sp.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> มีลำต้นใต้ดิน ลักษณะหัวว่านกลมยาวใหญ่ แข็งแรงมาก มีสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นเหนือดินจะมีลักษณะเหมือนต้นบอนสีเขียวอ่อน ๆ จนถึงเขียวปานกลาง</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว รูปรี รูปทรงกลม หรือรูปหัวใจ ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบเว้ามนเป็นรูปหัวใจหรือติ่งหู ขอบใบเรียบไม่มีจัก แผ่นใบและท้องใบมีสีเขียวตลอดทั้งหมด กาบก้านใบสีเขียวอ่อนและมีรอยขีดประสั้น ๆ สีเขียวเข้มทั่วกาบก้านใบ มีช่วงใบถี่ จะออกใบตรงส่วนยอดของก้านใบหรือลำต้น</p><p><strong>ดอก </strong>ออกดอกเป็นกลุ่มระหว่างกาบของก้านใบ ลักษณะดอกเป็นช่อแบบเชิงลดมีกาบ ดอกคล้ายดอกจำปีตูม มีกาบห่อหุ้มเกสรอยู่และมีลักษณะเป็นแท่ง ดอกมีสีเขียว</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ขึ้นตามที่ราบทั่วไป ชอบแสงแดดรำไร และอากาศที่มีความชื้นสูง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>-</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการแยกกอ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>โชคอนันต์ และคณะ. 2552. ตระกูลว่านไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์ ดวงกมลพับลิชชิ่ง. กรุงเทพมหานครฯ. 292 น.</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้