Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Capsicum</em> <em>frutescens</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Capsicum annuum</em> L.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 1 ม.</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่ ปลายแหลม โคนสอบ</p><p><strong>ดอก </strong>ออกเป็นดอกเดี่ยว หรือเป็นช่อ 2-5 ดอก ออกตามซอกใบและปลายยอด ก้านดอกยาว กลีบเลี้ยงเชื่อมกันปลายแยกเป็น 5 แฉก และจะคงอยู่จนดอกกลายเป็นผล โคนเชื่อม กันปลายแยก เป็นกลีบดอก 5 กลีบ เป็นสีขาว เมื่อบานเต็มที่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. มีเกสรตัวเพศ 5 อัน</p><p><strong>ผล </strong>กลมยาว ปลายผลแหลม มีขนาดใหญ่กว่าผลของพริกขี้หนูสวนอย่างชัดเจน สีผลมีทั้งสีเหลืองนวล สีขาว และสีแดง <br /> </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>-</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>-</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>นิยมปลูกเพื่อนำผลมาประกอบอาหาร และสามารถใช้ส่วนต่าง ๆ ของต้นพริกกะเหรี่ยงมาทำเป็นยาสมุนไพรรักษาอาการต่าง ๆ หรือสามารถปลูกเพื่อเป็นพืชประดับเพื่อความสวยงามก็ได้</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ไทยรัฐออนไลน์. 2558. “'พริกกะเหรี่ยงต้นเตี้ย' ดกเผ็ดแรง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thairath.co.th/content/488998 (23 เมษายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้