Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Dioscorea</em> <em>pentaphylla</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Botryosicyos</em> <em>pentaphyllus</em> (L.) Hochst.</p><p><em>Dioscorea</em> <em>changjiangensis</em> F.W.Xing & Z.X.Li</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> มีหัวแบบหัวมันฝรั่ง ลักษณะไม่สม่ำเสมอ มักจะเป็นรูปไข่ยาว หัวสดเมื่อตัดตามขวางมีสีขาวแล้วกลายเป็นสีน้ำตาล ลำต้นเวียนเกลียวทางซ้าย มีขนละเอียดประปราย ผิวเกือบเกลี้ยง และเต้มไปด้วยหนาม </p><p><strong>ใบ</strong> ใบออกสลับ ใบรูปนิ้วมือ มี 3-7 ใบย่อย ก้านใบยาว 5-11 ซม. มีขนสีน้ำตาลหนาแน่น ใบย่อยรูปไข่ถึงรูปใบหอก กว้าง 1.5-9.0 ซม. ยาว 6.5-24.0 ซม. มีขนสั้นนุ่มบริเ้วณก้านใบย่อย โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ </p><p><strong>ดอก</strong> ช่อดอกเพศผู้เป็นช่อเชิงลด ออกตามซอกใบ ยาวถึง 50 ซม. กิ่งแขนงข้างมีขนสีน้ำตาล ดอกเพศผู้ไม่มีก้าน ใบประดับ และใบประดับย่อยรูปไตรวมกันเป็นวงกลีบประดับ ล้อมรอบวงกลีบรวม มีขนประปราย ปลายแหลม เกสรเพศผู้ 3 อัน ช่อดอกเพศเมียเป็นช่อเชิงลด เดี่ยวๆหรือแยกแขนง มีขนสีน้ำตาล ดอกเพศเมีย มีใบประดับ มีวงกลีบรวม และรังไข่มีขน </p><p><strong>ผล</strong> ผลแบบแห้งแตก สีดำ รูปรียาว 2.0-2.5 ซม. บาง เหนียว มีขนประปราย มีปีกกว้าง 0.5-0.6 ซม. </p><p><strong>เมล็ด </strong>เมล็ดแทรกอยู่บริเวณปลายของผล ปีกชี้ไปยังฐานของผล </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบตามชายป่า ที่ระดับความสูง 500-1,500 ม. จากระดับทะเลปานกลาง </p>
ถิ่นกำเนิด
<p>บังคลาเทศ, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น,ลาว,มาเลเซีย, พม่า,เนปาล, นิวกินี, ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, แอฟริกา, ออสเตรเลีย, หมู่เกาะแปซิฟิก</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “มะมู่.”<strong> </strong>[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=มะมู่&keyback=มะมู่ (25 พฤศจิกายน 2559)</p><p>Flora of China. “Dioscorea pentaphylla.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200028128 (25 พฤศจิกายน 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Dioscorea pentaphylla L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-240656 (25 พฤศจิกายน 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้