Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Senna occidentalis </em>(L.) Link</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Cassia occidentalis </em>L.</p><p><em>Cassia</em> <em>planisiliqua</em> Burm. f.</p><p><em>Cassia</em> <em>plumieri</em> DC.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้พุ่มขนาดเล็ก ไม่ผลับใบ สูงได้ถึง 2 ม. ลำต้นตั้งตรง ผิวเกือบเกลี้ยง แตกกิ่งก้านสาขาได้มาก เปลือกต้นสีน้ำตาลแดง</p><p><strong>ใบ</strong> เป็นใบประกอบแบบขนนก ปลายคู่ ออกเรียงสลับ ใบย่อยมี 3-5 คู่ รูปไข่ กว้าง 2-3 ซม. ยาว 4-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้าหรือเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบและแผ่นใบเรียบ สีเขียว มีหูใบโค้งคล้ายรูปเคียว กว้าง 1.5-5.0 มม. ยาว 3-13 มม. หลุดร่วงง่าย ก้านใบรวมสีน้ำตาลแดง</p><p><strong>ดอก</strong> สีเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ด้านนอกของกลีบเลี้ยงมีเส้นสีม่วง กลีบดอกมี 5 กลีบ รูปไข่กลับ เกสรเพศผู้เป็นเส้นสีเหลืองมี 9-10 อัน</p><p><strong>ผล</strong> เป็นฝักแบนยาว รูปขอบขนาน ชูตั้งขึ้น กว้าง 1 ซม. ยาว 10-12 ซม. ตรงหรือโค้งงอเล็กน้อย ผิวเกือบเกลี้ยง เมื่อฝักแก่มีสีน้ำตาล</p><p><strong>เมล็ด</strong> รูปกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม. เมล็ดมีจำนวนมาก 30-40 เมล็ด</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบได้ในที่รกร้างว่างเปล่า หรือที่โล่งแจ้งใกล้ถนน จนถึงที่กึ่งร่ม ค่อนข้างชื้นใกล้ทางระบายน้ำหรือที่ลุ่ม ป่าเบญจพรรณในระดับพื้นล่างถึงป่าดิบเขาสูง 1,800 ม. เหนือระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>อเมริกาใต้</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ทุกประเทศในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ต้น</strong> ทั้งต้น นำมาต้มน้ำดื่มบำรุงร่างกาย แก้ปวดท้อง อาหารไม่ย่อย อาหารเป็นพิษ ขับปัสสาวะ ฆ่าเชื้อโรค รักษาโรคทางเดินปัสสาวะและนิ่ว แก้ไขมาลาเรีย</p><p><strong>ราก</strong> นำมาผสมกับข้าวสาร รากงิ้ว รากปอขาว รากฟักข้าว รากถั่วพู รากแตงเถื่อน รากกรามช้าง รากชุมเห็ดเทศ รากเกล็ดลิ่น เครือข้าวเย็น ต้นมะกอกเผือก ต้นกระไดลิง ฝนกับน้ำซาวข้าวเจ้า กินรักษารำมะนาด หรือฝนน้ำหยอดรักษาแผลในหู</p><p><strong>ใบ</strong> เข้ายาตำรับยาเขียว แก้ไข ลมจุกเสียด เป็นยาถ่าย เกลื่อนฝี ทารักษาเกลื้อน ผิวหนังพุพอง ตำพอกแก้ปวดศีรษะ ปวดฟัน บวม</p><p><strong>เมล็ด</strong> ใช้เป็นยาระบาย ช่วยย่อยอาหาร เจริญอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร บำรุงกระเพาะอาหาร แก้ปวดท้อง บิด ปวดหัว วิงเวียนศีรษะ ถอนพิษ แก้ไข้</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 464 น.</p><p>มูลนิธิโครงการหลวง. 2552. องค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย เล่ม 3. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 720 น.</p><p>อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ. 2553. “ชุมเห็ดเล็ก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://pharmacy.mahidol.ac.th/siri/index.php?page=search_detail&medicinal_id=388 (29 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Senna</em> <em>occidentalis</em> (L.) Link.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/ild-1086 (13 สิงหาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้