Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Chrysopogon</em> <em>zizanioides</em> (L.) Roberty</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Anatherum</em> <em>zizanioides</em> (L.) Hitchc. & Chase</p><p><em>Vetiveria</em> <em>zizanioides</em> (L.) Nash</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> หญ้าแฝกดอน เป็นพืชล้มลุกอายุหลายปี ทั่วไปพบในพื้นที่ค่อนข้างแห้งแล้ง กอจะเตี้ยกว่าหญ้าแฝกลุ่ม กอสูง 100-150 ซม. ไม่มีการแตกตะเกียงและแตกแขนงของลำต้น รากหยั่งลึก 80-100 ซม.<strong> พันธุ์นครสวรรค์ </strong>แตกกอ 34 ต้นต่อกอ เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. สูง 89 ซม. การแตกกอแน่นแต่กางออกเป็น ทรงพุ่มเตี้ย</p><p><strong>ใบ</strong> ใบหยาบ สากคาย มีไขเคลือบน้อย ทำให้ดูกร้านไม่เป็นมัน ใบเมื่อยาวเต็มที่จะโค้งลงคล้ายตะไคร้ ใบยาว 35-80 ซม. กว้าง 0.4-0.8 ซม. ใบสีเขียวเข้ม หลังใบเป็นเส้นแข็งสามเหลี่ยม </p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อ สูง 100-150 ซม. ดอกสีม่วง เริ่มออกดอกเมื่ออายุประมาณ 1 เดือน หลังจากปลูก ดอกย่อยด้านล่างฝ่อ ด้านบนสมบูรณ์เพศ เกสรเพศผู้ 3 อัน อับเรณูสีส้ม เกสรเพศเมีย ยอดเกสรสีชมพู เมล็ด สีน้ำตาลอ่อน รูปกระสวยผิวเรียบ หัวท้ายมน</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>เจริญเติบโตได้ดีในสภาพพื้นที่ที่เป็นดินทรายถึงร่วนดินเหนียว สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ภาคเหนือ</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>-</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ มีอัตราการรอดสูง เจริญเติบโตแตกกอได้อย่างรวดเร็ว </p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ปลูกในพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ</p><p>ปลูกเพื่อป้องกันการกัดชะการพังทะลายของดิน เช่นพื้นที่ในการสร้างเขื่อน สร้างฝายและสร้างถนน</p><p>ปลูกเพื่อป้องการกัดชะการพังทลายของดินเพื่อใช้ในการป้องกันการพังทลายของดิน และใช้ในการดักตะกอน</p><p>ทุกส่วนของลำต้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น</p><p><strong>- ต้นและใบ</strong> ช่วยกรองเศษพืชและตะกอนดิน ใช้ทำวัสดุมุงหลังคา ใช้ทำเชือก หมวก ตะกร้า ฯลฯ ใช้เป็นวัสดุคลุมดิน ใช้ทำปุ๋ยหมัก</p><p><strong>- ราก</strong> ดูดซับน้ำและช่วยรักษาความชุ่มชื้นในดิน ดูดซับแร่ธาตุและอาหาร ดูดซับสารพิษ ช่วยปรับปรุงสภาพดินทำให้คุณสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น ใช้ทำเครื่องสมุนไพรและเครื่องประทินผิว ใช้กลั่นทำน้ำหอม ใช้ป้องกันแมลงศัตรูพืช</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>กรมพัฒนาที่ดิน. 2559. “สายพันธุ์หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ำ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.ldd.go.th/menu_Dataonline/G3/G3_18.pdf (6 เมษายน 2560)</p><p>ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2554. “หญ้าแฝก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2357 (6 เมษายน 2560)</p><p>สำนักอนุรักษ์และกัดการต้นน้ำ. “หญ้าแฝก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/watershed/vetiver.htm (6 เมษายน 2560)</p><p>สำนักอนุรักษ์และกัดการต้นน้ำ. “หญ้าแฝก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/watershed/web%20%CB%AD%E9%D2%E1%BD%A1/page3.htm (6 เมษายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Chrysopogon</em> <em>zizanioides</em> (L.) Roberty.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-405169 (15 สิงหาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้