Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Cucumis</em> <em>sativus</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Cucumis esculentus</em> Salisb.</p><p><em>Cucumis</em> <em>hardwickii</em> Royle</p><p><em>Cucumis</em> <em>muricatus</em> Willd.</p><p><em>Cucumis</em> <em>rumphii</em> Hassk.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>เป็นพืชล้มลุกที่มีลำต้นเป็นเถาเลื้อย มีความยาวตั้งแต่ 40 ซม. ขึ้นไป ลำต้นเป็นเหลี่ยม มีขนปกคลุมขึ้นอยู่ทั่วไป มีระบบรากเป็นรากแก้ว</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเป็นใบเดี่ยว มีมุมแหลม ใบมีขนปกคลุม </p><p><strong>ดอก </strong>แตงกวามีดอกตัวผู้และตัวเมียในต้นเดียวกัน แต่จะแยกกัน ดังนั้นจึงต้องใช้ผึ้งช่วยผสมเกสร ดอกตัวผู้จะเกิดเป็นกลุ่ม ส่วนดอกตัวเมียจะเกิดเดี่ยว ๆ ดอกมีสีเหลือง ดอกตัวเมียมีลักษณะสังเกตคือ คล้ายแตงกวาผลเล็ก ๆ ตัดกับกลีบดอก ส่วนดอกตัวผู้จะมีเฉพาะก้านดอก ผลแตงกวาอ่อนมีหนามสั้นๆ เมื่อแก่จะหลุดออก ผิวเป็นร่องหรือปุ่ม</p><p><strong>ผล </strong>สีเขียวเข้ม เนื้อผลหนาฉ่ำน้ำ เนื้อแน่น กรอบ ไส้ผลมีขนาดเล็กลักษณะคล้าย Jelly</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการปลูกอยู่ระหว่าง 18-24 องศาเซลเซียส ความชื้นในอากาศต่ำ และได้รับแสงอย่างเต็มที่ตลอดทั้งวัน การปลูกในฤดูหนาวจะใช้เวลานานกว่าการปลูกในฤดูร้อน หากสภาพอากาศร้อนเกินไปจะมีแต่ดอกตัวผู้ ผสมไม่ติด ทำให้ผลผลิตต่ำ แตงกวาสามารถเจริญได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ดินที่เหมาะสมคือ ดินร่วนปนทราย ที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย pH ที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ดินควรมีอินทรีย์วัตถุสูง การระบายน้ำดี มีความชื้นในดินพอเหมาะ น้ำไม่ขังแฉะ เพราะหากน้ำขังจะทำให้เกิดโรคได้ง่าย อย่างไรก็ตามในช่วงการปลูกควรให้น้ำอย่างสม่ำเสมอตลอดฤดูกาลผลิต</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดแถบเอเชียและแอฟริกา</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>แตงกวามีเอนไซม์อีเรพซิน (erepsin) ช่วยย่อยโปรตีนได้ สรรพคุณของแตงกวา ขับปัสสาวะ แก้ไข้ กระหายน้ำ ใบแตงกวาแก้ท้องเสีย และช่วยลดความดันโลหิตสูง นิยมรับประทานเป็นผักสด แต่สามารถนำมาประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น ผัด ต้ม ดอง นึ่ง หรือนำมาคั้นน้ำเป็นเครื่องดื่ม หรือนำมาตกแต่งจานอาหาร</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน. 2559. "แตงกวาญี่ปุ่น". [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://hkm.hrdi.or.th/knowledge/detail/54 (10 เมษายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Cucumis</em> <em>sativus</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2747062 (10 เมษายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้