Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Antirrhinum majus</em> F1 'Appeal White'</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 15-20 ซม.</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว ออกตรงกันข้าม เวียนรอบต้น รูปใบหอกกว้าง ยาว 1-7 ซม. กว้าง 2.0-2.5 ซม.</p><p><strong>ดอก</strong> ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดอกยาว 3.5-4.5 ซม. มีกลีบปาก 2 กลีบ สีเหลือง วงกลีบดอกเป็นหลอดสีขาว</p><p><strong>ผล</strong> คล้ายรูปไข่ ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-14 มม. มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแสงที่ค่อนข้างจัด และอากาศเย็น</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ลิ้นมังกรมีถิ่นกำเนิดมาจากแถบเมดิเตอร์เรเนียนและอเมริกาเหนือ</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ปลูกประดับแปลงหรือสวน</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน | สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 2558. “ลิ้นมังกร.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://hkm.hrdi.or.th/knowledge/detail/114 (20 สิงหาคม 2560)</p><p>Ball Colegrave. 2016. Seed Catalogue 2016-17.</p><p>Wikipedia. 2017. “<em>Antirrhinum majus</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Antirrhinum_majus (20 สิงหาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้