Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Bauhinia</em> <em>sirindhorniae</em> K.Larsen & S.Larsen</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 10-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง กิ่งแก่เกลี้ยง</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว รูปไข่ถึงเกือบกลม กว้าง 4-17 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายใบแหลมและแยกเป็น 2 พู เว้าลึกเกือบถึงโคน ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนเขียวเข้มเป็นมัน หูใบเป็นเส้นม้วนโค้ง ก้านใบยาว 2.0-6.5 ซม. </p><p><strong>ดอก</strong> ดอกสีน้ำตาลแดง ออกเป็นช่อ ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกตูมรูปรี ยาวประมาณ 5 มม. ดอกย่อยบานกว้างประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ โคนเชื่อมกันปลายแยก กลีบดอกสีเหลืองอมส้มถึงแดง มี 5 กลีบ มีใบประดับ 2 ใบ รูปใบหอก ด้านนอกมีขน ด้านในเกลี้ยง เกสรผู้สมบูรณ์ 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเมียมีขน </p><p><strong>ผล</strong> เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-18 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง คลุมแน่น</p><p><strong>เมล็ด</strong> สีน้ำตาลดำรูปกลม ขนาดเล็ก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>เป็นพืชถิ่นเดียว และหายากของประเทศไทย พบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ประเทศไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ประเทศไทย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ผลอ่อน </strong>ขับปัสสาวะ แก้โรคหนองใน กามโรค ขับพยาธิในเด็ก ทำให้แท้งได้ <br /><strong>ใบ</strong> เป็นยาขับพยาธิ<br /><strong>เนื้อไม้</strong> ใช้รักษาอาการประดงที่เกิดจากระบบ โลหิตในร่างกายชนิดต่างๆ รวมเรียกว่า ประดงทั้งสามสิบสองประการ อาการโดยรวมคือเป็นเม็ด ผื่นคัน ปวดแสบปวดร้อน แก้น้ำเหลืองเสีย แก้ลมพิษ หรือภูมิแพ้ต่างๆ ใช้ลำต้นและรากแห้งฝนกับน้ำทารักษาอาการฝีและหนอง</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “สิรินธรวัลลี.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=165 (1 เมษายน 2559)</p><p>สำนักโครงการพระราชดำริและกิจการพิเศษ กรมป่าไม้. “สิรินธรวัลลี.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.forest.go.th/orip/index.php?option=com_content&view=article&id=426&Itemid=484 (1 เมษายน 2559)</p><p>องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2546. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 7. พิมพ์ครั้งที่ 1. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร. 346 น.</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้