รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-06431


ชื่อวิทยาศาสตร์

Antirrhinum majus F1 'Appeal White'

สกุล
Antirrhinum
สปีชีส์
Antirrhinum majus
Variety
-
Sub Variety
-
Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
ลิ้นมังกร
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
Snapdragon
ชื่อวงศ์
PLANTAGINACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น พืชล้มลุก อายุหลายปี สูง 15-20 ซม.

ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงกันข้าม เวียนรอบต้น รูปใบหอกกว้าง ยาว 1-7 ซม. กว้าง 2.0-2.5 ซม.

ดอก ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดอกยาว 3.5-4.5 ซม. มีกลีบปาก 2 กลีบ สีเหลือง วงกลีบดอกเป็นหลอดสีขาว

ผล คล้ายรูปไข่ ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-14 มม. มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแสงที่ค่อนข้างจัด และอากาศเย็น

ถิ่นกำเนิด

ลิ้นมังกรมีถิ่นกำเนิดมาจากแถบเมดิเตอร์เรเนียนและอเมริกาเหนือ

การกระจายพันธุ์

-

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ปลูกประดับแปลงหรือสวน

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน | สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 2558. “ลิ้นมังกร.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://hkm.hrdi.or.th/knowledge/detail/114 (20 สิงหาคม 2560)

Ball Colegrave. 2016. Seed Catalogue 2016-17.

Wikipedia. 2017. “Antirrhinum majus.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Antirrhinum_majus (20 สิงหาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้